# | ชื่อนักวิจัย | ข้อมูล |
---|---|---|
1 | ดร. หทัย น้อยสมบัติ | ความเชี่ยวชาญ :
งานวิจัย :
การพัฒนาโปรแกรมการจัดการเรียนการสอนตามหลักสูตรฐานสมรรถนะสำหรับครูระดับการศึกษาขั้นพื้นฐาน จังหวัดร้อยเอ็ด ปี :
2565 |
2 | ดร.จรัญญา กุลยะ | ความเชี่ยวชาญ :
งานวิจัย :
การพัฒนาศักยภาพและเพิ่มมูลค่าข้าวพันธุ์พื้นเมืองอินทรีย์ ปี :
2565 |
3 | ดร.พุทธพรรณี บุญมาก | ความเชี่ยวชาญ :
งานวิจัย :
การประยุกต์ใช้สาหร่ายและแพลงก์ตอนในการปรับปรุงคุณภาพน้ำและการเพาะเลี้ยง ปี :
2565 |
4 | ผศ.ดร.ศรีสุนันท์ ประเสริฐสังข์ | ความเชี่ยวชาญ :
งานวิจัย :
การเพิ่มศักยภาพผลิตภัณฑ์สุมนไพรชุมชนสู่การเป็นธุรกิจที่ได้มาตรฐาน กรณีศึกษา กลุ่มวิสาหกิจชุมชนในจังหวัดร้อยเอ็ด ปี :
2565 |
5 | ผศ.นนทนันท์ พลพันธ์ | ความเชี่ยวชาญ :
งานวิจัย :
การพัฒนาและถ่ายทอดเทคโนโลยีต้นแบบเครื่องผลิตเส้นไหมอีรี่กึ่งอัตโนมัติระดับครัวเรือน ปี :
2565 |
6 | ดร.เกษร เมรัตน์ | ความเชี่ยวชาญ :
งานวิจัย :
การพัฒนาแผ่นฟิล์มอัจฉริยะสำหรับห่ออาหารด้วยเพคตินจากเปลือกแตงโมและแอนโทไซยานินจากรำข้าวเหนียวดำ ปี :
2565 |
7 | ผศ.ดร.กนกกรณ์ ศิริทิพย์ | ความเชี่ยวชาญ :
งานวิจัย :
การพัฒนากระบวนการผลิตเส้นไหมอีรี่ด้วยกระบวนการทางวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี และการเพื่อเพิ่มมูลค่าไหมอีรี่ด้วยการย้อมสีธรรมชาติ และการแปรูป และนำไปถ่ายทอดสู่ชุมชน เพื่อความมันคงมั่งคั่งและยั่งยืน ของจังหวัดร้อยเอ็ด ปี :
2565 |
8 | ผศ.ทิพวรรณ วรรณภักดี ภูมิพันธ์ | ความเชี่ยวชาญ :
งานวิจัย :
การพัฒนานวัตกรรมและสร้างทักษะการเรียนรู้ในศตวรรษที่ 21 กับการจัดการเรียนรู้โดยใช้โครงงานเป็นฐานบูรณาการกับแหล่งการเรียนรู้ท้องถิ่นในชุมชน จังหวัดร้อยเอ็ด
หนึ่งโรงเรียน หนึ่งอำเภอ หนึ่งแหล่งการเรียนรู้ท้องถิ่นในชุมชน จังหวัดร้อยเอ็ด ปี :
2565 |
9 | ผศ.วิภา ชัยสวัสดิ์ | ความเชี่ยวชาญ :
งานวิจัย :
การพัฒนานวัตกรรมและสร้างทักษะการเรียนรู้ในศตวรรษที่ 21 กับการจัดการเรียนรู้โดยใช้โครงงานเป็นฐานบูรณาการกับแหล่งการเรียนรู้ท้องถิ่นในชุมชน จังหวัดร้อยเอ็ด การพัฒนาครูและนักศึกษาครูให้มีความรู้ความเข้าใจด้านการจัดการเรียนการสอนโดยใช้โครงงานเป็นพื้นฐาน เพื่อพัฒนานวัตกรรมและส่งเสริมทักษะการเรียนรู้ในศตวรรษที่ 21 โดยการบูรณาการโครงงานกับแหล่งการเรียนรู้ท้องถิ่นในชุมชน จังหวัดร้อยเอ็ด ปี :
2565 |
10 | ผศ.ปริญ รสจันทร์ | ความเชี่ยวชาญ :
งานวิจัย :
We-Society : การพัฒนาทักษะการสร้างห้องเรียนแห่งความเกื้อกูลและแบ่งปัน แก่ครูผู้สอนสังคมศึกษาในจังหวัดร้อยเอ็ด เพื่อสร้างวัฒนธรรมการเกื้อกูลและแบ่งปันแก่เด็กและเยาวชนกลุ่มคนเปราะบาง โดยกระบวนการวิจัยเชิงปฏิบัติการแบบมีส่วนร่วม ปี :
2565 |
ชั้น 2 อาคารเฉลิมพระเกียรติ 50 พรรษา
มหาวชิราลงกรณ
Tel. (043) 556 132
Fax. (043) 556 109